ความหมาย
พุธ
พฤศจิกายน 2552.
โทรทัศน์(television)
สืบค้นเมื่อ
25
กรกฎาคม
2555,
จาก
wikipedia.
จากเว็บไซต์ที่ได้สืบค้นบทความ
บทความได้กล่าวว่า
คำว่า
"โทรทัศน์"
(television) นิยมใช้ตัวย่อว่า
"ทีวี"
(TV) หรือมักเรียกสั้น
ๆ ว่า "โทรทัศน์"
หมายถึง
"การส่งและรับภาพและเสียงโดยเครื่องส่งและเครื่องรับอิเล็กทรอนิกส์ออกอากาศด้วยกระแสคลื่นวิทยุที่ใช้พลังไฟฟ้าเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากเครื่องส่งไปยังเครื่องรับที่อยู่ห่างไกล"
ถ้าวิทยุโทรทัศน์ที่ใช้ส่งและรับทางสายเคเบิงไม่ส่งออกอากาศไปไกล
ๆ เราเรียกกันว่า "วิทยุโทรทัศน์วงจรปิด"
(Closed - Circuit Television หรือเรียก
ย่อ ๆ ว่า CCTV)
คำว่า
"Television"
นี้กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศในขณินั้นได้ทรงวิเคราะห์ศัพท์และบัญญัติเป็นภาษาไทยว่า
"โทรทัศน์"
รายการวิทยุโทรทัศน์
สืบค้นเมื่อ 26
กรกฎาคม
2555,
จาก
http://www.thaigoodview.com/.
จากเว็บไซต์ที่ได้สืบค้นบทความ
บทความได้กล่าวว่า
รายการวิทยุโทรทัศน์
หมายถึง
รายการหนึ่งที่สมบูรณ์ในตัวเองหรือครบถ้วนในตัวเอง
เช่น รายการแสดงประเภทละคร
รายการสนทนา รายการอภิปราย
รายการสารคดี เป็นต้น
หรือหมายถึง
รายการที่สมบูรณ์ในตัวเองซึ่งต้องสัมพันธ์กับรายการย่อยอื่น
ๆ ที่ได้คัดเลือกนำมาออกในรายการเดียวกัน
เช่น รายการคอนเสริต
รายการวิพิธทัศนา
ซึ่งมีรายการเบ็ดเตล็ดต่าง
ๆ
เข้ามาประกอบด้วยเพื่อนำออกแพร่ภาพทางวิทยุโทรทัศน์ได้ให้ความสำคัญ
ความสำคัญของวิทยุโทรทัศน์
ความสำคัญของวิทยุโทรทัศน์
วิทยุโทรทัศน์มีความสำคัญ
3
ประการ
ดังนี้
1.เพื่อเสริมสร้างสติปัญญาให้แก่มนุษย์
สื่อมวลชนมีความสำคัญในการช่วยเสริมสร้างให้ประชาชนในประเทศของตนได้มีโอกาสรับรู้ข่าวสารและความรู้เพิ่มมากขึ้นโดยทัดเทียมผู้อื่น
1.1)
การให้ข้อเท็จจริงแก่ประชาชน
วิทยุและโทรทัศน์จะต้องให้ความสำคัญในการรวบรวมและติดตามเหตุการณ์สำคัญที่น่าสนใจ
1.2)
การให้การศึกษา
วิทยุและโทรทัศน์จะต้องให้ความสำคัญในการเสริมสร้างการศึกษาแก่ประชาชน
เพื่อก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ
1.3)
การแสดงความคิดเห็น
วิทยุและโทรทัศน์จะมีความสำคัญที่เป็นเสมือนเวทีกลางให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็น
ความต้องการ และอุดมการณ์ของมนุษย์ในสังคม
ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีก้าวไกลยิ่งขึ้น
ทำให้วิทยุและโทรทัศน์เป็นสื่อที่มีความสำคัญในการนำมาพัฒนาประเทศในด้านต่างๆเป็นอันมาก
คือ
2.1)
การพัฒนาทางการศึกษา
วิทยุและโทรทัศน์มีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาของประชาชนด้วยวิธีการถ่ายทอดความรู้หรือข่าวสารที่ง่ายๆตรงๆ
และรวบรัด
2.2)
การพัฒนาทางการเมือง
วิทยุและโทรทัศน์จะเป็นสื่อกลางในการประสานความคิดและ
สร้างศรัทธาเชื่อถือ
2.3)
การพัฒนาชนบท
วิทยุและโทรทัศน์เป็นสื่อที่มีความสำคัญซึ่งจะขาดไม่ได้ในการพัฒนาชนบท
โดยเฉพาะวิทยุเป็นสื่อที่เข้าถึงประชาชนในชนบทได้มากที่สุด
2.4)
การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ
วิทยุและโทรทัศน์มีความสำคัญในการนำเสนอความคืบหน้าและความเปลี่ยนแปลงต่างๆ
2.5)
การพัฒนาทางด้านสังคม
วิทยุและโทรทัศน์
จะมีความสำคัญในการนำเสนอความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว
รูปแบบรายการวิทยุโทรทัศน์
(Program
Format) หมายถึง
เทคนิควิธี และลีลาการนำเสนอเนื้อหาสาระ
ข่าวสาร บุคคล ตลอดจนสิ่งต่าง
ๆ
การแบ่งประเภทประเภทของรายการโทรทัศน์
สืบค้นเมื่อ 26
กรกฎาคม
2555,
จาก http://www.ee.mut.ac.th/
จากเว็บไซต์ที่ได้สืบค้นบทความ
บทความได้กล่าวว่า
การแบ่งประเภทประเภทของรายการโทรทัศน์
รายการโทรทัศน์ที่แพร่ภาพและเสียงในขณะนี้ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.รายการโทรทัศน์เพื่อการค้า (Commercial Television:CTV) เป็นรายการเพื่อความบันเทิง และธุรกิจโฆษณา
2.รายการโทรทัศน์การศึกษา(Education Television:ETV)เป็นรายการเพื่อความรู้ทั่วไปในด้านต่างๆ เช่นความรู้ทางวิชาการ ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม โดยไม่จำกัดความรู้ของผู้ชม หรือเจาะจงเฉพาะบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เป็นการให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป
รายการโทรทัศน์ที่แพร่ภาพและเสียงในขณะนี้ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.รายการโทรทัศน์เพื่อการค้า (Commercial Television:CTV) เป็นรายการเพื่อความบันเทิง และธุรกิจโฆษณา
2.รายการโทรทัศน์การศึกษา(Education Television:ETV)เป็นรายการเพื่อความรู้ทั่วไปในด้านต่างๆ เช่นความรู้ทางวิชาการ ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม โดยไม่จำกัดความรู้ของผู้ชม หรือเจาะจงเฉพาะบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เป็นการให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป
โทรทัศน์ตามลักณะได้แบ่งออกเป็น
2
ประเภท
คือ โทรทัศน์ขาวดำ (Black
- and - White Television) และโทรทัศน์สี
(Color
Television) สำหรับโทรทัศน์สียังสามารถแบ่งได้อีกหลายประเภท
เช่น โทรทัศน์สีทั่วไป
โทรทัศน์สีที่ใช้ระบบรีโมทคอนโทรล
(Remote
Control) โทรทัศน์สีที่มีจอภาพแบบจอโค้ง
และแบบจอแบน
โทรทัศน์สีมีขนาดแตกต่างกันไปตั้งแต่ขนาดเล็ก
ๆ ที่ติดตั้งบริเวณหน้ารถยนต์หรือขนาด
14
นิ้วและ
20
นิ้ว
เป็นต้น ตลอดจนขนาดใหญ่มาก
ๆ ซึ่งบางคนนิยมเรียกกันว่า
Home
Theater จะมีราคาสูงมาก
ขนาดของโทรทัศน์
เช่น 14
นิ้ว
หรือ 20
นิ้ว
นี้ดูได้จากการวัดทแยงจากมุมหนึ่งไปยังอีกมุมหนึ่งของหน้าจอโทรทัศน์
http://www.siangdham.com/Solar/index.php?option=com
ได้ให้ความสำคัญ
ความสำคัญของโทรทัศน์สืบค้นเมื่อ
26
กรกฎาคม
2555,
จาก
http://www.ee.mut.ac.th/
จากเว็บไซต์ที่ได้สืบค้นบทความ
บทความได้กล่าวว่า
ความสำคัญของโทรทัศน์
โทรทัศน์ในฐานะที่เป็นสื่อมวลชนมีความสำคัญในด้านต่าง
ๆ ดังนี้
1.
ความสำคัญในด้านการเสริมสร้างสติปัญญา
ความสำคัญของวิทยุโทรทัศน์ในการเสริมสร้างสติปัญญามีอยู่
3
ลักษณะคือ
การให้ข้อเท็จจริงแก่ประชาชน
การให้การศึกษา และการแสดงความคิดเห็น
2.
ความสำคัญในด้านการพัฒนาประเทศ
โทรทัศน์มีความสำคัญในการใช้เป็นสื่อเพื่อพัฒนาประเทศในด้านต่าง
ๆ ประเทศอังกฤษมีสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเรียกว่า
"ETV"
(Educational Television)
ซึ่งมีหน้าที่ด้านการสอนบทเรียนและรับผิดชอบในการให้การศึกษาโดยเฉพาะ
ประเทศฝรั่งเศสมีสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาโดยเฉพาะเรียกว่า
"RTS"
(Radio Television Scholaire)
ซึ่งเป็นสถานที่สอนบทเรียนทางโทรทัศน์โดยตรง
สำหรับในประเทศไทยก็ได้จัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาขึ้น
คือ สถานีโทรทัศน์ช่อง 11
เพื่อพัฒนาการศึกษาให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น
3.
ความสำคัญในด้านการสื่อสารของโลก
โทรทัศน์มีความสำคัญในฐานะเป็นเครื่องมือการสื่อสารของโลก
ทำให้สามารถติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกันได้อย่างรวดเร็วทันใจไม่ว่าจะอยู่ส่วนไหนของโลก
โดยการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียมเพื่อให้ทั่วโลกได้รับรู้เหตุการณ์ต่าง
ๆ ที่เกิดขึ้น ที่ไหน เมื่อใด
อย่างไร และทำไม
นอกจากนั้นวิทยุโทรทัศน์ยังเป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนข่าวสารความรู้ความบันเทิงและวัฒนธรรม
ระบบการแพร่สัญญาณของโทรทัศน์
1. การแพร่สัญญาณในระบบวงจรเปิด ระบบนี้ส่งภาพและเสียงออกไปยังเครื่องรับตามสถานที่ต่างๆ ได้ตามแรงรัศมีซึ่งแยกออกเป็น 2 ระบบย่อย คือ
1.1ระบบ VHF (Very High Frequency) ส่งคลื่นออกอากาศทางโทรทัศน์ 12 ช่อง ใช้เพื่อความบันเทิงและการค้า
1.2 ระบบ UHF (Ultra High Frequency) ส่งคลื่นออกอากาศทางสถานี โทรทัศน์ 70 ช่อง ใช้เพื่อการค้าและสถานีที่ส่งตามสายเคเบิล
2. การแพร่สัญญาณในระบบวงจรปิด เป็นการแพร่ภาพและเสียงในบริเวณจำกัดกว่าในระบบแรกเนื่องจากแพร่ภาพไปตามสายแทนการ
1. การแพร่สัญญาณในระบบวงจรเปิด ระบบนี้ส่งภาพและเสียงออกไปยังเครื่องรับตามสถานที่ต่างๆ ได้ตามแรงรัศมีซึ่งแยกออกเป็น 2 ระบบย่อย คือ
1.1ระบบ VHF (Very High Frequency) ส่งคลื่นออกอากาศทางโทรทัศน์ 12 ช่อง ใช้เพื่อความบันเทิงและการค้า
1.2 ระบบ UHF (Ultra High Frequency) ส่งคลื่นออกอากาศทางสถานี โทรทัศน์ 70 ช่อง ใช้เพื่อการค้าและสถานีที่ส่งตามสายเคเบิล
2. การแพร่สัญญาณในระบบวงจรปิด เป็นการแพร่ภาพและเสียงในบริเวณจำกัดกว่าในระบบแรกเนื่องจากแพร่ภาพไปตามสายแทนการ
ระบบการแพร่ภาพและเสียงของโทรทัศน์
ระบบของการแพร่ภาพและเสียงของโทรทัศน์แบ่งได้เป็น 2 ระบบ คือ
1.การแพร่ภาพและเสียงในระบบวงจรเปิด (open - circuit television or broadcasting television) ระบบนี้ส่งภาพและเสียงไปยังเครื่องรับตามสถานที่ต่างๆ ได้ตามแรงรัศมีซึ่งแยกออกเป็น 2 ระบบย่อย คือ
1.1 ระบบ VHF ( Very High Frequency ) ส่งคลื่นออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์12 ช่อง โดยใช้ในการแพร่ภาพของสถานีโทรทัศน์เพื่อความบันเทิงและการค้า ใช้ความถี่คลื่นตั้งแต่44-88 megahertz ใช้กับช่อง 2-6 และความถี่ 174-216 megahertz ใช้กัลช่อง 7-13
1.2 ระบบ UHF (Ultra High Frequency) ส่งคลื่นออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์70ช่อง คือ ช่อง14-83 ความถี่ของคลื่นตั้งแต่ 470-890 megahertzใช้ในการแพร่ภาพของสถานีโทรทัศน์ที่มิใช่การค้า
2. การแพร่ภาพและเสียงในระบบวงจรปิด (Closed-Circuit Television;CCTV)เป็นการแพร่ภาพและเสียงในบริเวรจำกัดกว่าในระบบแรกเนื่องจากเป็นการแพร่ภาพไปตามสายแทนการออกอากาศ เช่นโทรทัศน์วงจรปิดที่ใช้สอนในมหาวิทยาลัย หรือระบบสายเคเบิลที่ส่งไปยังคนกลุ่มเดียวที่ต่อจากสายเคเบิลจากสถานีส่งไปยังเครื่องรับของตน
การนำวิทยุโทรทัศน์มาใช้ในการศึกษาสืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2555, http://www.thaigoodview.com/node/25636 จากเว็บไซต์ที่ได้สืบค้นบทความ บทความได้กล่าว
ระบบของการแพร่ภาพและเสียงของโทรทัศน์แบ่งได้เป็น 2 ระบบ คือ
1.การแพร่ภาพและเสียงในระบบวงจรเปิด (open - circuit television or broadcasting television) ระบบนี้ส่งภาพและเสียงไปยังเครื่องรับตามสถานที่ต่างๆ ได้ตามแรงรัศมีซึ่งแยกออกเป็น 2 ระบบย่อย คือ
1.1 ระบบ VHF ( Very High Frequency ) ส่งคลื่นออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์12 ช่อง โดยใช้ในการแพร่ภาพของสถานีโทรทัศน์เพื่อความบันเทิงและการค้า ใช้ความถี่คลื่นตั้งแต่44-88 megahertz ใช้กับช่อง 2-6 และความถี่ 174-216 megahertz ใช้กัลช่อง 7-13
1.2 ระบบ UHF (Ultra High Frequency) ส่งคลื่นออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์70ช่อง คือ ช่อง14-83 ความถี่ของคลื่นตั้งแต่ 470-890 megahertzใช้ในการแพร่ภาพของสถานีโทรทัศน์ที่มิใช่การค้า
2. การแพร่ภาพและเสียงในระบบวงจรปิด (Closed-Circuit Television;CCTV)เป็นการแพร่ภาพและเสียงในบริเวรจำกัดกว่าในระบบแรกเนื่องจากเป็นการแพร่ภาพไปตามสายแทนการออกอากาศ เช่นโทรทัศน์วงจรปิดที่ใช้สอนในมหาวิทยาลัย หรือระบบสายเคเบิลที่ส่งไปยังคนกลุ่มเดียวที่ต่อจากสายเคเบิลจากสถานีส่งไปยังเครื่องรับของตน
การนำวิทยุโทรทัศน์มาใช้ในการศึกษาสืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2555, http://www.thaigoodview.com/node/25636 จากเว็บไซต์ที่ได้สืบค้นบทความ บทความได้กล่าว
1.ประเภทของรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
การจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
ถ้าแบ่งตามวัตถุ ประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย
แบ่งได้เป็น 3
ประเภท
คือ
1) รายการเพื่อการศึกษาสำหรับประชาชนทั่วไป (Informal Education) เป็นรายการที่จัดขึ้นเพื่อให้ความรู้ทั่วไปแก่ประชาชน เพื่อความกินดีอยู่ดี สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ และเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ
2) รายการเพื่อการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) เป็นรายการที่จัดขึ้นเพื่อการเรียนการสอนในระบบโรงเรียนโดยจัดให้สอดคล้องกับหลักสูตร ประมวลการสอน และวิธีสอน เพื่อช่วยการเรียนการสอนของครูและนักเรียนในโรงเรียน
3) รายการเพื่อการศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non Formal Education) เป็นรายการที่จัดขึ้นเพื่อให้การศึกษาแก่ผู้ที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซึ่งไม่มีโอกาสเข้าศึกษาในระบบโรงเรียน อาจเป็นรายการที่เป็นไปตามหลักสูตรหรือเป็นการสอนเสริมตามหลักสูตรในระบบโรงเรียน หรือเป็นการศึกษากลุ่มสนใจเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับอาชีพและสภาพแวดล้อม
การแบ่งประเภทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษานี้ ตำราบางเล่มอาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท เท่านั้นคือ
1) รายการความรู้ทั่วไป เป็นรายการที่มุ่งให้ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์แก่การดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชนทั่วไป การจัดรายการประเภทนี้ อาจทำได้เป็น 2 ลักษณะ คือ - รายการสาระบันเทิง เป็นรายการที่เน้นด้านเนื้อหาสาระ โดยสอดแทรกความบันเทิงไว้ด้วย เพื่อไม่ให้ผู้ชมเกิดความเบื่อหน่าย เช่น รายการสารคดี รายการตอบปัญหา ละครชีวิตต่อต้านยาเสพติด - รายการส่งเสริมการศึกษา เป็นรายการที่มุ่งให้เนื้อหาสาระที่ชัดเจนแก่ผู้ชม มักจัดรายการเป็นชุด เช่น รายการชุดชีวิตสัตว์ ชีพจรลงเท้า ความรู้คือประทีป
2) รายการเพื่อการสอน เป็นรายการที่ผลิตขึ้นเพื่อการสอนตามหลักสูตรในระดับใดระดับหนึ่ง รายการมีลักษณะเป็นบทเรียน แบ่งเป็นตอน ๆ มีวิธีการนำเสนอที่น่าสนใจ และมีการวัดผลการเรียนจากการชมรายการด้วย อาจจัดได้เป็น 3 ลักษณะคือ - รายการทำหน้าที่สอนทั้งหมด เป็นรายการที่สอนเบ็ดเสร็จในตัว ทำหน้าที่แทนครู - รายการทำหน้าที่สอนเนื้อหาหลัก เป็นรายการที่สอนเฉพาะส่วนที่เป็นเนื้อหาสำคัญต้องอาศัยครูเป็นผู้คอยให้คำแนะนำ อธิบาย ขยายความ หรือให้ทำกิจกรรมเสริม - รายการทำหน้าที่เสริมการสอน เป็นรายการที่จัดขึ้น เพื่อเสริมการสอนของครูให้สมบูรณ์ขึ้น เช่น การแสดงละคร การสาธิต หรือการประยุกต์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
2.แบบการจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
1) รายการสดที่จัดขึ้นในห้องส่ง แล้วถ่ายทอดออกอากาศโดยตรง รายการ ลักษณะนี้อาจมีข้อบกพร่องเกิดขึ้นได้
2) รายการถ่ายทอดสดจากภายนอก ส่วนมากเป็นภาพเหตุการณ์สำคัญซึ่งเกิดขึ้นในสังคม และประชาชนส่วนใหญ่สนใจ
3) รายการที่บันทึกเทปไว้ล่วงหน้า เฉพาะสำหรับรายการที่ต้องเตรียมการล่วงหน้า และต้องการควบคุมเพื่อป้องกันความผิดพลาด
4) รายการจากภาพยนตร์โทรทัศน์ ได้แก่ภาพยนตร์ข่าว บันเทิง สารคดี ฯลฯ ซึ่งนำมาฉายแพร่ภาพออกอากาศ
3.การใช้โทรทัศน์วงจรปิดเพื่อการสอน ปัจจุบันตามสถานศึกษานิยมใช้โทรทัศน์วงจรปิดเพื่อการศึกษากันแพร่หลาย โดย เฉพาะในรูปของวีดีโอเทป ซึ่งอาจทำได้หลายรูปแบบดังนี้
1) ใช้เป็นเครื่องมือในการสอน โดยจัดทำเป็นบทเรียนสำเร็จรูป แล้วนำมาฉายให้นักศึกษาชม ทำหน้าที่แทนครู
2) ใช้เสริมการสอนของครู โดยนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของระบบการสอน ซึ่งผู้สอนจะต้องวางแผนเตรียมการล่วงหน้า
3) ใช้เสริมการเรียนของนักศึกษา โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษานำวีดีโอเทปไปเปิดดูตามลำพังในยามว่าง
4) ใช้เป็นเครื่องมือในการสาธิต หรือใช้ในห้องปฏิบัติการ เพื่อช่วยให้นักศึกษามองเห็นเหตุการณ์อย่างใกล้ชิด
5) ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกทักษะด้านต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษามองเห็น ข้อบกพร่องของตนเองเพื่อหาทางปรับปรุงให้ดีขึ้น 6) ใช้เป็นเครื่องมือในการรวบรวมเหตุการณ์ และความรู้ในสาขาวิชาการต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาหาความรู้ โดยการบันทึกเรื่องราวลงไว้ในเส้นเทป อาจบันทึกจากรายการโทรทัศน์ จากภาพยนตร์หรือจากกล้องโทรทัศน์ก็ได้
1) รายการเพื่อการศึกษาสำหรับประชาชนทั่วไป (Informal Education) เป็นรายการที่จัดขึ้นเพื่อให้ความรู้ทั่วไปแก่ประชาชน เพื่อความกินดีอยู่ดี สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ และเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ
2) รายการเพื่อการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) เป็นรายการที่จัดขึ้นเพื่อการเรียนการสอนในระบบโรงเรียนโดยจัดให้สอดคล้องกับหลักสูตร ประมวลการสอน และวิธีสอน เพื่อช่วยการเรียนการสอนของครูและนักเรียนในโรงเรียน
3) รายการเพื่อการศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non Formal Education) เป็นรายการที่จัดขึ้นเพื่อให้การศึกษาแก่ผู้ที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซึ่งไม่มีโอกาสเข้าศึกษาในระบบโรงเรียน อาจเป็นรายการที่เป็นไปตามหลักสูตรหรือเป็นการสอนเสริมตามหลักสูตรในระบบโรงเรียน หรือเป็นการศึกษากลุ่มสนใจเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับอาชีพและสภาพแวดล้อม
การแบ่งประเภทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษานี้ ตำราบางเล่มอาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท เท่านั้นคือ
1) รายการความรู้ทั่วไป เป็นรายการที่มุ่งให้ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์แก่การดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชนทั่วไป การจัดรายการประเภทนี้ อาจทำได้เป็น 2 ลักษณะ คือ - รายการสาระบันเทิง เป็นรายการที่เน้นด้านเนื้อหาสาระ โดยสอดแทรกความบันเทิงไว้ด้วย เพื่อไม่ให้ผู้ชมเกิดความเบื่อหน่าย เช่น รายการสารคดี รายการตอบปัญหา ละครชีวิตต่อต้านยาเสพติด - รายการส่งเสริมการศึกษา เป็นรายการที่มุ่งให้เนื้อหาสาระที่ชัดเจนแก่ผู้ชม มักจัดรายการเป็นชุด เช่น รายการชุดชีวิตสัตว์ ชีพจรลงเท้า ความรู้คือประทีป
2) รายการเพื่อการสอน เป็นรายการที่ผลิตขึ้นเพื่อการสอนตามหลักสูตรในระดับใดระดับหนึ่ง รายการมีลักษณะเป็นบทเรียน แบ่งเป็นตอน ๆ มีวิธีการนำเสนอที่น่าสนใจ และมีการวัดผลการเรียนจากการชมรายการด้วย อาจจัดได้เป็น 3 ลักษณะคือ - รายการทำหน้าที่สอนทั้งหมด เป็นรายการที่สอนเบ็ดเสร็จในตัว ทำหน้าที่แทนครู - รายการทำหน้าที่สอนเนื้อหาหลัก เป็นรายการที่สอนเฉพาะส่วนที่เป็นเนื้อหาสำคัญต้องอาศัยครูเป็นผู้คอยให้คำแนะนำ อธิบาย ขยายความ หรือให้ทำกิจกรรมเสริม - รายการทำหน้าที่เสริมการสอน เป็นรายการที่จัดขึ้น เพื่อเสริมการสอนของครูให้สมบูรณ์ขึ้น เช่น การแสดงละคร การสาธิต หรือการประยุกต์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
2.แบบการจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
1) รายการสดที่จัดขึ้นในห้องส่ง แล้วถ่ายทอดออกอากาศโดยตรง รายการ ลักษณะนี้อาจมีข้อบกพร่องเกิดขึ้นได้
2) รายการถ่ายทอดสดจากภายนอก ส่วนมากเป็นภาพเหตุการณ์สำคัญซึ่งเกิดขึ้นในสังคม และประชาชนส่วนใหญ่สนใจ
3) รายการที่บันทึกเทปไว้ล่วงหน้า เฉพาะสำหรับรายการที่ต้องเตรียมการล่วงหน้า และต้องการควบคุมเพื่อป้องกันความผิดพลาด
4) รายการจากภาพยนตร์โทรทัศน์ ได้แก่ภาพยนตร์ข่าว บันเทิง สารคดี ฯลฯ ซึ่งนำมาฉายแพร่ภาพออกอากาศ
3.การใช้โทรทัศน์วงจรปิดเพื่อการสอน ปัจจุบันตามสถานศึกษานิยมใช้โทรทัศน์วงจรปิดเพื่อการศึกษากันแพร่หลาย โดย เฉพาะในรูปของวีดีโอเทป ซึ่งอาจทำได้หลายรูปแบบดังนี้
1) ใช้เป็นเครื่องมือในการสอน โดยจัดทำเป็นบทเรียนสำเร็จรูป แล้วนำมาฉายให้นักศึกษาชม ทำหน้าที่แทนครู
2) ใช้เสริมการสอนของครู โดยนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของระบบการสอน ซึ่งผู้สอนจะต้องวางแผนเตรียมการล่วงหน้า
3) ใช้เสริมการเรียนของนักศึกษา โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษานำวีดีโอเทปไปเปิดดูตามลำพังในยามว่าง
4) ใช้เป็นเครื่องมือในการสาธิต หรือใช้ในห้องปฏิบัติการ เพื่อช่วยให้นักศึกษามองเห็นเหตุการณ์อย่างใกล้ชิด
5) ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกทักษะด้านต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษามองเห็น ข้อบกพร่องของตนเองเพื่อหาทางปรับปรุงให้ดีขึ้น 6) ใช้เป็นเครื่องมือในการรวบรวมเหตุการณ์ และความรู้ในสาขาวิชาการต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาหาความรู้ โดยการบันทึกเรื่องราวลงไว้ในเส้นเทป อาจบันทึกจากรายการโทรทัศน์ จากภาพยนตร์หรือจากกล้องโทรทัศน์ก็ได้
ระบบโทรทัศน์
สืบค้นเมื่อ 26
กรกฎาคม
2555http://th.wikipedia.org/wiki/
จากเว็บไซต์ที่ได้สืบค้นบทความ
บทความได้กล่าว
ระบบโทรทัศน์
ในปัจจุบันโทรทัศน์นับได้ว่าเป็นสิ่งจำเป็นที่ทุกบ้านทุก
ครอบครัว ไม่ว่าจะร่ำรวยหรือยากจนจะต้องมีไว้เพื่อรับชม
ข่าวสาร ละคอน หรือรายการบันเทิง ต่างๆ แต่คุณรู้หรือไม่ว่าภาพและเสียงที่คุณได้ดูได้รับชมอยู่นั้น เกิดขึ้นได้อย่างไร มีความเป็นมาและมาปรากฏที่เครื่องรับโทรทัศน์ที่บ้านคุณได้อย่างไร
ครอบครัว ไม่ว่าจะร่ำรวยหรือยากจนจะต้องมีไว้เพื่อรับชม
ข่าวสาร ละคอน หรือรายการบันเทิง ต่างๆ แต่คุณรู้หรือไม่ว่าภาพและเสียงที่คุณได้ดูได้รับชมอยู่นั้น เกิดขึ้นได้อย่างไร มีความเป็นมาและมาปรากฏที่เครื่องรับโทรทัศน์ที่บ้านคุณได้อย่างไร
ภาพที่คุณเห็นจากเครื่องรับโทรทัศน์ในแต่ละภาพจะประกอบด้วยจุดที่มีความเข้มแตกต่างกันหลายร้อยหลายพันจุด
ถ้าคุณเอารูปภาพมา 1
แผ่น
แล้วเอากรรไกรตัดภาพออกเป็นแถบเล็ก
ๆ ตามแนวราบจะเห็นว่าในแต่ละแถบจะประกอบด้วยจุดเล็ก
ๆ
ที่มีความเข้มมากน้อยต่างกันเรียงเป็นแถวถ้านำแต่ละแถบมาประกอบเข้าด้วยกันตามลำดับเดิม
จะเกิดเป็นภาพมีลักษณะเหมือนภาพเดิมได้
การส่งสัญญาณโทรทัศน์
ก็ใช้หลักเดียวกัน คือจะส่งภาพ ไปทีละจุด จากซ้ายไปขวา และจากส่วนบนไปส่วนล่าง
โดยเปลี่ยนแต่ละจุดของภาพเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ผสมเข้ากับคลื่นวิทยุความถี่สูงใน
ระบบเอเอ็ม แล้วส่งออกไปในอากาศในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนเสียงนั้นก็ส่งไปใน
ระบบเอฟเอ็ม ทำนองเดียวกับการส่งวิทยุโดยใช้คลื่นที่มีความถี่อยู่ในช่อง(Channel) เดียวกัน
แต่ละช่องจะมีย่านความถี่กว้างประมาณ 6 เมกกะเฮิร์ท ช่อง 2-6 อยู่ในช่วงความถี่ 54-86 เมกกะเฮิร์ทและช่อง 7-13 อยู่ในช่วง174-216 เมกกะเฮิร์ท ภาพแต่ละภาพระบบเดิม
ประกอบด้วย 525 เส้น แต่ปัจจุบันใช้ 625 เส้น เพื่อให้ได้ภาพนิ่มนวลกว่าเดิม และใน 1 วินาที
สามารถส่งภาพได้ถึง 30 ภาพ อุปกรณ์ที่สำคัญในการส่งภาพ คือ หลอดส่งภาพ
(Camera Tube) ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของกล้องถ่ายโทรทัศน์ เป็นหลอดสูญญากาศ
ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์
ในปัจจุบันนี้มีระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่นิยมใช้ในแถบภูมิภาคต่างๆ คือ
ก็ใช้หลักเดียวกัน คือจะส่งภาพ ไปทีละจุด จากซ้ายไปขวา และจากส่วนบนไปส่วนล่าง
โดยเปลี่ยนแต่ละจุดของภาพเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ผสมเข้ากับคลื่นวิทยุความถี่สูงใน
ระบบเอเอ็ม แล้วส่งออกไปในอากาศในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนเสียงนั้นก็ส่งไปใน
ระบบเอฟเอ็ม ทำนองเดียวกับการส่งวิทยุโดยใช้คลื่นที่มีความถี่อยู่ในช่อง(Channel) เดียวกัน
แต่ละช่องจะมีย่านความถี่กว้างประมาณ 6 เมกกะเฮิร์ท ช่อง 2-6 อยู่ในช่วงความถี่ 54-86 เมกกะเฮิร์ทและช่อง 7-13 อยู่ในช่วง174-216 เมกกะเฮิร์ท ภาพแต่ละภาพระบบเดิม
ประกอบด้วย 525 เส้น แต่ปัจจุบันใช้ 625 เส้น เพื่อให้ได้ภาพนิ่มนวลกว่าเดิม และใน 1 วินาที
สามารถส่งภาพได้ถึง 30 ภาพ อุปกรณ์ที่สำคัญในการส่งภาพ คือ หลอดส่งภาพ
(Camera Tube) ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของกล้องถ่ายโทรทัศน์ เป็นหลอดสูญญากาศ
ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์
ในปัจจุบันนี้มีระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่นิยมใช้ในแถบภูมิภาคต่างๆ คือ
1.ระบบ
NTSC
(National television Standards Committee)
เป็นระบบโทรทัศน์สีระบบแรกที่ใช้งานในประเทศสหรัฐอเมริกา
ตั้งแต่ปีค.ศ.1953
ประเทศที่ใช้ระบบนี้ต่อ
ๆ มาได้แก่
ญี่ปุ่น แคนาดา เปอเตอริโก้ และเม็กซิโก เป็นต้น
ญี่ปุ่น แคนาดา เปอเตอริโก้ และเม็กซิโก เป็นต้น
2.ระบบ
PAL
(Phase Alternation Line)
เป็นระบบโทรทัศน์ที่พัฒนามาจากระบบ
NTSC
ทำให้มีการเพี้ยนของสีน้อยลง
เริ่มใช้งานมาตั้งแต่ปีค.ศ.1967
ในประเทศทางแถบยุโรป
คือ เยอรมันตะวันตก อังกฤษ
ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม บราซิล
เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน
สวิตเซอร์แลนด์ และมีหลายประเทศในแถบเอเซียที่ใช้กันคือ สิงคโปร์ มาเลเซีย รวมไปถึง
ประเทศไทยก็ใช้ระบบนี้
สวิตเซอร์แลนด์ และมีหลายประเทศในแถบเอเซียที่ใช้กันคือ สิงคโปร์ มาเลเซีย รวมไปถึง
ประเทศไทยก็ใช้ระบบนี้
3.ระบบ
SECAM
(SEQuentiel A Memoire("memory sequential")
เป็นระบบโทรทัศน์อีกระบบหนึ่งคิดค้นขึ้นโดย
Dr.Henry
D.France เริ่มใช้มาตั้งแต่ปีค.ศ.1967
นิยมใช้กันอยู่หลายประเทศแถบยุโรปตะวันออก
ได้แก่ ฝรั่งเศส อัลจีเรีย
เยอรมันตะวันออก ฮังการี
ตูนีเซีย รูมาเนีย และรัสเซีย* เป็นต้น
*ระบบ SECAM ที่รัสเซียใช้มี 625 เส้น
ตูนีเซีย รูมาเนีย และรัสเซีย* เป็นต้น
*ระบบ SECAM ที่รัสเซียใช้มี 625 เส้น
ข้อดีของโทรทัศน์
2.1
มีความสามารถครอบคลุมและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายมาก
2.2
ดึงดูดความสนใจ
ให้ภาพ แสง สี เสียง
เหมือนเหตุการณ์จริงได้
มากที่สุด
2.3
เสนอข่าวสารได้รวดเร็ว
ใช้ถ่ายทอดเหตุการณ์จริงได้
ข้อจำกัดของโทรทัศน์
2.1
มีค่าใช้จ่ายสูงในการผลิต
2.2
เครื่องรับมีราคาแพงเมื่อเทียบกับเครื่องรับวิทยุ
2.3
ผู้ชมไม่อาจทำงานอย่างอื่นไปขณะกำลังรับชมได้สดวก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น